ฝรั่งเศส ติดต่อ กับ อยุธยา ใน สมัย พระ นารายณ์ มหาราช มี วัตถุประสงค์ ต้องการ นำ ศาสนา ใด มา เผยแพร่ (2023)

1. เมื่อสุริยกษัตริย์ แห่งฝรั่งเศส หมายเจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระนารายณ์ ...

  • อีกทั้งประชาชนอยุธยาทั้งหมดก็จะหันมานับถือศาสนาคริสต์นิ กายโรมันคาทอลิกตามด้วยอย่างแน่นอน พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ทรงมีความมุ่งมั่นในการเผยแผ่คริสต์ศาสนาอยู่แล้ว

  • เมื่อสุริยกษัตริย์ แห่งฝรั่งเศส หมายเจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยาในช่วงพุธศตวรรษที่ 23...

เมื่อสุริยกษัตริย์ แห่งฝรั่งเศส หมายเจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระนารายณ์ ...

2. [PDF] สัมพันธภาพของประเทศฝรั่งเศสกับประเทศสยาม พ.ศ.๒๒๒๓ - กรมศิลปากร

  • คณะบาทหลวงของฝรั่งเศสได้รับสิทธิพิเศษอย่างเต็มที่ในการเผยแผ่. คริสต์ศาสนา แต่ทั้งนี้จะต้องไม่ขัดต่อการปกครองประเทศและไม่ผิดกฎหมาย. ของสยาม. สมเด็จพระนารายณ์ (Le roi Pra - Narai) (๑) ...

3. ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | สัญญาไทย-ฝรั่งเศส ครั้งสมเด็จพระนารายณ์ฯ

  • (2) พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงอนุญาตให้บริษัทฝรั่งเศสค้าขายในกรุงศรีอยุธยาโดยไม่คิดจังกอบและฤชา และสามารถซื้อสินค้าของชาติอื่นๆ ได้ตามต้องการ แต่ถ้าเป็นของที่ทางราชการไทยต้องการเช่น ...

  • หนังสือสัญญาระหว่างไทยกับฝรั่งเศสเรื่องการอนุญาตให้บริษัทฝรั่งเศสเข้ามาค้าขายในประเทศไทยโดยมีเงื่อนไขต่างๆ 12 ข้อ ได้แก่
    (1) พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระราชทานที่ดินแก่บริษัทฝรั่งเศสเพื่อสร้างตึกสำหรับการค้าขาย
    (2) พระบาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงอนุญาตให้บริษัทฝรั่งเศสค้าขายในกรุงศรีอยุธยาโดยไม่คิดจังกอบและฤชา และสามารถซื้อสินค้าของชาติอื่นๆ ได้ตามต้องการ แต่ถ้าเป็นของที่ทางราชการไทยต้องการเช่นเดียวกันทางไทยก็จะแบ่งขายให้ในราคาทุนที่ซื้อมา หากบริษัทต้องการซื้อดีบุกนอกเมืองถลางบางคลี งาช้าง ช้าง ดินประสิวขาว ดีบุกดำ หมากกรอกและฝาง ทางพระคลังจะขายให้ในราคาที่ซื้อขายกับลูกค้ารายอื่นๆ โดยห้ามไม่ให้บริษัทฝรั่งเศสซื้อขายสินค้าดังกล่าวกับผู้อื่น ส่วนสินค้าต้องห้าม ได้แก่ ดินประสิวขาว-ดำ กำมะถัน ปืนและอาวุธ จะสามารถซื้อขายได้เมื่อพระนารายณ์มีพระราชประสงค์เท่านั้น นอกจากนี้ บริษัทฝรั่งเศสต้องยื่นบัญชีสินค้าให้ทางราชการดูก่อน หากทางการต้องการสินค้าใดย่อมมีสิทธิ์ซื้อก่อนผู้อื่น อีกประการหนึ่งคือ ห้ามฝรั่งเศสซื้อหนังจากกรุงศรีอยุธยาฝ่ายเหนือ ฝ่ายใต้จนถึงปากน้ำเจ้าพระยาเพราะพระราชทานสิทธิ์แก่บริษัทฮอลันดาแล้ว แต่หากจะซื้อจากที่อื่นโดยไม่ได้นำเข้ามาก็สามารถซื้อขายได้
    (3) อย่าให้พนักงานเรียกเก็บจังกอบเมื่อบริษัทไปค้าขายต่างเมือง
    (4) ถ้าบริษัทเช่าระวางของผู้อื่นไปค้าขาย ให้เงื่อนไขเป็นไปตามข้อสองและข้อสาม (5) หากคนฝรั่งเศสหรือคนในบังคับของบริษัทก่อเหตุฆ่ากันตาย ให้ใช้กฎหมายฝรั่งเศส โดยส่งตัวกลับไปลงโทษที่ฝรั่งเศส หากต้องอาญาหรือเป็นความแพ่งกับคนฝรั่งเศสและชาติอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในบังคับของบริษัท ให้ตุลาการของทางราชการไทยเป็นผู้พิจารณาคดีแต่ต้องมีนายบริษัทฝรั่งเศสอยู่ด้วย
    (6) บริษัทฝรั่งเศสสามารถซื้อขายที่เมืองถลางบางคลีโดยไม่เสียจังกอบและฤชา และอนุญาตให้ซื้อดีบุกในเมืองนั้นได้เพียงผู้เดียว หากผู้ใดลักลอบซื้อ ให้ริบแล้วแบ่งเป็นสี่ส่วน โดยสองส่วนให้เป็นของหลวง ส่วนหนึ่งให้โจทย์ อีกส่วนหนึ่งให้บริษัทฝรั่งเศส สินค้าที่ฝรั่งเศสนำมาขายและดีบุกที่จะซื้อให้เจ้าเมืองและบริษัทตกลงกันอย่าให้ขึ้นลงราคาตามใจชอบ สำหรับอากรดีบุกที่เมืองถลางให้ทางคลังเรียกเก็บตามธรรมเนียม และห้ามราษฎรซื้อขายดีบุกตั้งแต่เดือน 10 ปีมะโรง สัมฤทธิ์ศก
    (7) หากฝรั่งเศสต้องการสร้างตึกค้าขายที่หัวเมืองและเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยาสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเช่นเดียวกับข้อ 2-5 แต่ห้ามซื้อขายดีบุกที่เมืองนครเพราะเป็นสิทธิ์ของฮอลันดา
    (8) หากเรือกำปั่นของบริษัทเสียในบริเวณที่ขึ้นแก่กรุงศรีอยุธยา ให้บริษัทเก็บสินค้าไว้อย่าให้เจ้าเมืองหรือผู้ใดนำไป
    (9) ทางบริษัทฝรั่งเศสต้องสัญญาว่าจะไม่ให้ที่ดินซึ่งพระนารายณ์ฯ พระราชทาน เป็นที่อาศัยหรือช่วยเหลือศัตรูของกรุงศรีอยุธยา
    (10) หากชาวฝรั่งเศสที่มีลูกเมียในกรุงศรีอยุธยาและเมืองขึ้น ต้องการออกไปจากกรุงศรีอยุธยาก็สามารถนำทั้งลูกเมียและทรัพย์สินทั้งปวงของตนไปด้วยได้
    (11) ชาวฝรั่งเศสที่เดินทางมากรุงศรีอยุธยาหรือเมืองขึ้นโดยเรือกำปั่นของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ก็ดี มากับกำปั่นของบริษัทก็ดี อย่าให้เจ้าพนักงานชักชวนให้ละไปจากเรือ หากมีการหลบหนี ให้เจ้าพนักงานนำตัวมาให้แก่นายกำปั่นให้ได้
    (12) พระนารายณ์ ฯ ทรงเห็นชอบกับสัญญาเรื่องการค้าพริกไทยกับฝรั่งเศสที่ทำขึ้นใน พ.ศ. 2227 (ที่จริงคือพ.ศ. 2226) และมีพระราชโองการว่าพริกที่ถูกริบและไหมที่ได้มาจากผู้ลักลอบนั้นให้แบ่งเป็นสี่ส่วน 2 ส่วนให้เป็นของหลวง ส่วนหนึ่งให้แก่ผู้ส่อ อีกส่วนหนึ่งให้แก่บริษัทฝรั่งเศส โดยขณะที่ทำการแบ่งให้ทุกฝ่ายอยู่ด้วยกัน แต่ละฝ่ายมีกุญแจของตน เพื่อป้องกันการทะเลาะวิวาท
    ตอนท้ายกล่าวถึงการเขียนเป็นภาษาไทย 3 ฉบับ ภาษาฝรั่งเศส 3 ฉบับ ภาษาโปรตุเกส 3 ฉบับ ระบุสถานที่เขียนคือ เมืองลพบุรี ในวันพฤหัสบดี เดือนอ้ายขึ้นแปดค่ำ พ.ศ. 2231 ปีเถาะนพศก

ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | สัญญาไทย-ฝรั่งเศส ครั้งสมเด็จพระนารายณ์ฯ

4. [PDF] 5 อยุธยากับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

5. วัดนักบุญยอแซฟ - จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  • วัดนักบุญยอแซฟ ตั้งที่ทางตอนใต้นอกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2209 ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เดินทางมากรุงศรีอยุธยา ...

  • วัดนักบุญยอแซฟ ตั้งที่ทางตอนใต้นอกเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา บริเวณริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2209 ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เดินทางมากรุงศรีอยุธยา คือ บาทหลว...

วัดนักบุญยอแซฟ - จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

6. ปูมราชธรรม สยาม-ฝรั่งเศส : การปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรม

  • กรณีที่น่าสนใจสำหรับการศึกษาเรื่องการปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมในสมัยอยุธยาจะปรากฏเด่นชัดมากในช่วงรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.๒๑๙๙ - พ.

  • กรณีที่น่าสนใจสำหรับการศึกษาเรื่องการปะทะสังสรรค์ทางวัฒนธรรมในสมัยอยุธยาจะปรากฏเด่นชัดมากในช่วงรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.๒๑๙๙ - พ.ศ.๒๒๓๑) เมื่อชาติตะวันตกหลากหลายเชื้อชาติได้เข้ามาในราชอาณาจักรโดยมีวัตถุประสงค์ในพันธกิจที่เด่นชัดมากกว่าที่ปรากฏในรัชกาลก่อน ๆ ดังตัวอย่างเช่น พ่อค้าฮอลันดาได้แสดงความปรารถนาในด้านการค้าและสิทธิทางการค้าที่จะเอื้อประโยชน์แก่บริษัทตนเพิ่มมากขึ้น ส่วนพ่อค้าอังกฤษก็แสดงความพยายามในการยกระดับการค้าระหว่างประเทศของตนกับสยามให้มากขึ้นกว่าเดิม

7. [PDF] สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

  • ... ของคริสต์ศาสนา ซึ่งพระองค์ก็ทรงอนุเคราะห์ที่ดินให้ปลูกสร้างอาคาร และ. พระราชทานเสรีภาพในการเผยแผ่ศาสนา การที่สังคมอยุธยามีพ่อค้าและบาทหลวงต่างชาติเดิน. ทางเข้ามา ...

8. ๖. พระพุทธศาสนาในไทย - Dhamma Writings

  • รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในรัชกาลนี้มีหลักฐานว่า ประเพณีการบวชเรียนคงจะ ... ในสมัยอยุธยาตอนที่สามนี้ มีวรรณคดีพุทธศาสนาเหลือมาถึงปัจจุบันจํานวนมาก ส่วน ...

  • Wat Nyanavesaksvan Official Website

9. วัฒนธรรมตะวันตก

  • ... ศาสนาอื่น ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ความสัมพันธ์ ... ด้ารการศึกษา ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีชนชั้นนำจำนวนหนึ่ง เช่น พระอนุชาและขุนนาง ...

  • วัฒนธรรมตะวันตก             ประเทศไทยมีความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมกับชาติตะวันตกตั้งแต่ พ.ศ. ๒๐๕๔ ซึ่งตรงกับสมัยสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๐๓๔-๒๐๗๒) แห่งกรุงศรีอยุธยา โปรตุเกส เป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา วัฒนธรรมสำคัญที่พ่อค้าโปรตุเกสนำเข้ามาเผยแพร่คือคริสต์ศาสนารัฐบาลไทยได้เปิดรับวัฒนธรรมของชาติตะวันตกและให้ เสรีภาพในการนับถือและเผยแผ่ศาสนาแก่ชาวต่างประเทศ อนุญาตให้สร้างโบสถ์คริสต์และมีบาทหลวงคาทอลิกคณะต่างๆ เช่น โดมินิกันและฟรานซิสกัน เดินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนาแก่ชาวพื้นเมือง เช่น ไทย ลาว มอญ ญวน จีน ฯลฯแต่ไม่ค่อยจะประสบ ความสำเร็จ เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธและไม่สนใจเรื่องศาสนาอื่น ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ความสัมพันธ์กับชาติตะวันตกได้เจริญสูงสุด คณะบาทหลวงฝรั่งเศสนิกายเจซูอิตเข้ามามีบทบาทด้านการ เผยแผ่ศาสนา และชักชวนให้พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่งฝรั่งเศสเปิดสัมพันธไมตรีกับไทย คณะบาทหลวงฝรั่งเศสได้นำศิลปวิทยา การต่างๆ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมสำคัญๆ ของตะวันตกมาสู่สังคมไทย เช่น ระบบการศึกษาในโรงเรียนการแพทย์ สถาปัตยกรรม และ วิชาการในแขนงต่างๆ เป็นต้นว่า ภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์และวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่แผ่นดินสมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. ๒๒๓๑-๒๒๔๖)เป็นต้นมา สัมพันธไมตรีระหว่างไทยกับชาติตะวันตกได้เสื่อมลง คณะบาทหลวงส่วนใหญ่เดินทางออกนอก ราชอาณาจักร ศิลปวิทยาการตะวันตกต่างๆ จึงมิได้สืบทอดและแพร่หลายในหมู่ราษฎร ยกเว้นศาสนาคริสต์ซึ่งยังคงเผยแผ่อยู่ใน หมู่ชาวต่างชาติและชาวไทยบางส่วนที่เลื่อมใสมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตัวอย่างของวัฒนธรรมตะวันตกที่ปรากฏในสมัย กรุงศรีอยุธยาได้แก่ เทคโนโลยีด้านการก่อสร้าง เช่น การต่อเรือการสร้างป้อมปราการ และเคหสถาน โดยใช้รูปแบบ สถาปัตยกรรมตะวันตกและเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น การหล่อปืนใหญ่ และการสร้างหอดูดาว

10. การใช้ภาษาโปรตุเกสและภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร ในราชสำนักสมเด็จพระ ...

  • ภาษาโปรตุเกสและภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร, ราชสำนัก, สมเด็จพระนารายณ์มหาราช. บทคัดย่อ. ชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาติดต่อกับประเทศสยามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็น ...

  • ชาวตะวันตกเริ่มเข้ามาติดต่อกับประเทศสยามตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เริ่มต้นด้วยชาวโปรตุเกสซึ่งเข้ามาในปี พ.ศ. 2054 ตามมาด้วย ชาวสเปน ฮอลันดา อังกฤษ และฝรั่งเศส โดยลำดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำการค้า เพื่อเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก และมาเป็นทหารรับจ้าง การติดต่อกับนานาชาติประสบความสำเร็จมากที่สุดในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชซึ่งเรียกได้ว่าเป็นยุคทองแห่งการติดต่อกับต่างประเทศของสยาม การสื่อสารในยุคแรกนั้นเป็นการติดต่อกับราชสำนักสยามโดยตรง โดยใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นหลัก ทั้งภาษาพูดที่ใช้กันโดยทั่วไปและภาษาเขียนที่ใช้ในการทำสนธิสัญญาต่าง ๆ การเจรจาในยุคแรก ๆ นั้น ผ่านล่ามชาวจีนและมลายู หลังจากนั้นจึงมีการสื่อสารของชาวโปรตุเกส และลูกครึ่งโปรตุเกสที่ใช้ภาษาไทยได้ด้วย ข้าราชสำนักสยาม เจ้านาย และขุนนางไทยบางส่วนก็สามารถสื่อสารภาษาโปรตุเกสได้ ส่วนชาวต่างชาติตะวันตกอื่น ๆ ที่เข้ามาติดต่อก็ต้องใช้ภาษาโปรตุเกสในการสื่อสารเช่นกัน ต่อมาเมื่อคณะทูตชาวฝรั่งเศสเดินทางเข้ามาติดต่อกับสยามตามพระราชบัญชาของสมเด็จพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งประเทศฝรั่งเศส ได้มีบาทหลวงชาวฝรั่งเศสเดินทางเข้ามาเพื่อเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกด้วย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีพระบรมราชานุญาตให้ชาวฝรั่งเศสสร้างโบสถ์และสร้างบ้านเณรขึ้นในบริเวณนอกกำแพงพระนคร จึงมีการสอนภาษาฝรั่งเศสและภาษาละตินให้กับชาวสยามที่มาเข้าโบสถ์ ประกอบกับความสัมพันธ์ระหว่างราชสำนักสยามและฝรั่งเศสมีความแน่นแฟ้นมาก ภาษาฝรั่งเศสจึงมีบทบาทมากขึ้นตลอดรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

11. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมกับชาติตะวันตก - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

  • ... ศาสนาอื่น ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) ความสัมพันธ์กับชาติตะวันตกได้เจริญสูงสุด คณะบาทหลวงฝรั่งเศสนิกายเจซูอิต เข้ามามีบทบาทด้านการ ...

  • เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเน„เธ—เธขเธกเธตเธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒเธ—เธฒเธ‡เธ”เน‰เธฒเธ™เธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธเธฑเธšเธŠเธฒเธ•เธดเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธ เธ•เธฑเน‰เธ‡เนเธ•เนˆ เธž.เธจ. เน’เนเน•เน” เธ‹เธถเนˆเธ‡เธ•เธฃเธ‡เธเธฑเธšเธชเธกเธฑเธขเธชเธกเน€เธ”เน‡เธˆเธžเธฃเธฐเธฃเธฒเธกเธฒเธ˜เธดเธšเธ”เธตเธ—เธตเนˆ เน’ (เธž.เธจ. เน’เนเน“เน”-เน’เนเน—เน’) เนเธซเนˆเธ‡เธเธฃเธธเธ‡เธจเธฃเธตเธญเธขเธธเธ˜เธขเธฒ เน‚เธ›เธฃเธ•เธธเน€เธเธชเน€เธ›เน‡เธ™เธŠเธฒเธ•เธดเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเธŠเธฒเธ•เธดเนเธฃเธ เธ—เธตเนˆเน€เธ”เธดเธ™เธ—เธฒเธ‡เน€เธ‚เน‰เธฒเธกเธฒเธ•เธดเธ”เธ•เนˆเธญเธ„เน‰เธฒเธ‚เธฒเธขเธเธฑเธšเธเธฃเธธเธ‡เธจเธฃเธตเธญเธขเธธเธ˜เธขเธฒ เธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธชเธณเธ„เธฑเธเธ—เธตเนˆเธžเนˆเธญเธ„เน‰เธฒเน‚เธ›เธฃเธ•เธธเน€เธเธชเธ™เธณเน€เธ‚เน‰เธฒเธกเธฒเน€เธœเธขเนเธžเธฃเนˆเธ„เธทเธญ เธ„เธฃเธดเธชเธ•เนŒเธจเธฒเธชเธ™เธฒ เธฃเธฑเธเธšเธฒเธฅเน„เธ—เธขเน„เธ”เน‰เน€เธ›เธดเธ”เธฃเธฑเธšเธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธ‚เธญเธ‡เธŠเธฒเธ•เธดเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธ เนเธฅเธฐเนƒเธซเน‰เน€เธชเธฃเธตเธ เธฒเธžเนƒเธ™เธเธฒเธฃเธ™เธฑเธšเธ–เธทเธญ เนเธฅเธฐเน€เธœเธขเนเธœเนˆเธจเธฒเธชเธ™เธฒเนเธเนˆเธŠเธฒเธงเธ•เนˆเธฒเธ‡เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจ เธญเธ™เธธเธเธฒเธ•เนƒเธซเน‰เธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เน‚เธšเธชเธ–เนŒเธ„เธฃเธดเธชเธ•เนŒ เนเธฅเธฐเธกเธตเธšเธฒเธ—เธซเธฅเธงเธ‡เธ„เธฒเธ—เธญเธฅเธดเธเธ„เธ“เธฐเธ•เนˆเธฒเธ‡เน† เน€เธŠเนˆเธ™ เน‚เธ”เธกเธดเธ™เธดเธเธฑเธ™ เนเธฅเธฐเธŸเธฃเธฒเธ™เธ‹เธดเธชเธเธฑเธ™ เน€เธ”เธดเธ™เธ—เธฒเธ‡เน€เธ‚เน‰เธฒเธกเธฒเน€เธœเธขเนเธœเนˆเธจเธฒเธชเธ™เธฒเนเธเนˆเธŠเธฒเธงเธžเธทเน‰เธ™เน€เธกเธทเธญเธ‡ เน€เธŠเนˆเธ™ เน„เธ—เธข เธฅเธฒเธง เธกเธญเธ เธเธงเธ™ เธˆเธตเธ™ เธฏเธฅเธฏ เนเธ•เนˆเน„เธกเนˆเธ„เนˆเธญเธขเธˆเธฐเธ›เธฃเธฐเธชเธšเธ„เธงเธฒเธกเธชเธณเน€เธฃเน‡เธˆ เน€เธ™เธทเนˆเธญเธ‡เธˆเธฒเธเธ›เธฃเธฐเธŠเธฒเธเธฃเธชเนˆเธงเธ™เนƒเธซเธเนˆเน€เธ›เน‡เธ™เธŠเธฒเธงเธžเธธเธ—เธ˜ เนเธฅเธฐเน„เธกเนˆเธชเธ™เนƒเธˆเน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธจเธฒเธชเธ™เธฒเธญเธทเนˆเธ™ เธ•เนˆเธญเธกเธฒเนƒเธ™เนเธœเนˆเธ™เธ”เธดเธ™เธชเธกเน€เธ”เน‡เธˆเธžเธฃเธฐเธ™เธฒเธฃเธฒเธขเธ“เนŒเธกเธซเธฒเธฃเธฒเธŠ (เธž.เธจ. เน’เน‘เน™เน™-เน’เน’เน“เน‘) เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒเธเธฑเธšเธŠเธฒเธ•เธดเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเน„เธ”เน‰เน€เธˆเธฃเธดเธเธชเธนเธ‡เธชเธธเธ” เธ„เธ“เธฐเธšเธฒเธ—เธซเธฅเธงเธ‡เธเธฃเธฑเนˆเธ‡เน€เธจเธชเธ™เธดเธเธฒเธขเน€เธˆเธ‹เธนเธญเธดเธ• เน€เธ‚เน‰เธฒเธกเธฒเธกเธตเธšเธ—เธšเธฒเธ—เธ”เน‰เธฒเธ™เธเธฒเธฃเน€เธœเธขเนเธœเนˆเธจเธฒเธชเธ™เธฒ เนเธฅเธฐเธŠเธฑเธเธŠเธงเธ™เนƒเธซเน‰เธžเธฃเธฐเน€เธˆเน‰เธฒเธซเธฅเธธเธขเธชเนŒเธ—เธตเนˆ เน‘เน” เนเธซเนˆเธ‡เธเธฃเธฑเนˆเธ‡เน€เธจเธช เน€เธ›เธดเธ”เธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เน„เธกเธ•เธฃเธตเธเธฑเธšเน„เธ—เธข เธ„เธ“เธฐเธšเธฒเธ—เธซเธฅเธงเธ‡เธเธฃเธฑเนˆเธ‡เน€เธจเธชเน„เธ”เน‰เธ™เธณเธจเธดเธฅเธ›เธงเธดเธ—เธขเธฒเธเธฒเธฃเธ•เนˆเธฒเธ‡เน† เธ‹เธถเนˆเธ‡เน€เธ›เน‡เธ™เธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธชเธณเธ„เธฑเธเน† เธ‚เธญเธ‡เธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเธกเธฒเธชเธนเนˆเธชเธฑเธ‡เธ„เธกเน„เธ—เธข เน€เธŠเนˆเธ™ เธฃเธฐเธšเธšเธเธฒเธฃเธจเธถเธเธฉเธฒเนƒเธ™เน‚เธฃเธ‡เน€เธฃเธตเธขเธ™ เธเธฒเธฃเนเธžเธ—เธขเนŒ เธชเธ–เธฒเธ›เธฑเธ•เธขเธเธฃเธฃเธก เนเธฅเธฐเธงเธดเธŠเธฒเธเธฒเธฃเนƒเธ™เนเธ‚เธ™เธ‡เธ•เนˆเธฒเธ‡เน† เน€เธ›เน‡เธ™เธ•เน‰เธ™เธงเนˆเธฒ เธ เธนเธกเธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ เธ”เธฒเธฃเธฒเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ เนเธฅเธฐเธงเธดเธ—เธขเธฒเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ เธญเธขเนˆเธฒเธ‡เน„เธฃเธเน‡เธ•เธฒเธก เธ•เธฑเน‰เธ‡เนเธ•เนˆเนเธœเนˆเธ™เธ”เธดเธ™เธชเธกเน€เธ”เน‡เธˆเธžเธฃเธฐเน€เธžเธ—เธฃเธฒเธŠเธฒ (เธž.เธจ. เน’เน’เน“เน‘-เน’เน’เน”เน–) เน€เธ›เน‡เธ™เธ•เน‰เธ™เธกเธฒ เธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เน„เธกเธ•เธฃเธตเธฃเธฐเธซเธงเนˆเธฒเธ‡เน„เธ—เธขเธเธฑเธšเธŠเธฒเธ•เธดเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเน„เธ”เน‰เน€เธชเธทเนˆเธญเธกเธฅเธ‡ เธ„เธ“เธฐเธšเธฒเธ—เธซเธฅเธงเธ‡เธชเนˆเธงเธ™เนƒเธซเธเนˆเน€เธ”เธดเธ™เธ—เธฒเธ‡เธญเธญเธเธ™เธญเธเธฃเธฒเธŠเธญเธฒเธ“เธฒเธˆเธฑเธเธฃ เธจเธดเธฅเธ›เธงเธดเธ—เธขเธฒเธเธฒเธฃเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเธ•เนˆเธฒเธ‡เน† เธˆเธถเธ‡เธกเธดเน„เธ”เน‰เธชเธทเธšเธ—เธญเธ” เนเธฅเธฐเนเธžเธฃเนˆเธซเธฅเธฒเธขเนƒเธ™เธซเธกเธนเนˆเธฃเธฒเธฉเธŽเธฃ เธขเธเน€เธงเน‰เธ™เธจเธฒเธชเธ™เธฒเธ„เธฃเธดเธชเธ•เนŒ เธ‹เธถเนˆเธ‡เธขเธฑเธ‡เธ„เธ‡เน€เธœเธขเนเธœเนˆเธญเธขเธนเนˆเนƒเธ™เธซเธกเธนเนˆเธŠเธฒเธงเธ•เนˆเธฒเธ‡เธŠเธฒเธ•เธด เนเธฅเธฐเธŠเธฒเธงเน„เธ—เธขเธšเธฒเธ‡เธชเนˆเธงเธ™ เธ—เธตเนˆเน€เธฅเธทเนˆเธญเธกเนƒเธช เธกเธฒเธˆเธ™เธ–เธถเธ‡เธชเธกเธฑเธขเธเธฃเธธเธ‡เธฃเธฑเธ•เธ™เน‚เธเธชเธดเธ™เธ—เธฃเนŒ เธ•เธฑเธงเธญเธขเนˆเธฒเธ‡เธ‚เธญเธ‡เธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธ เธ—เธตเนˆเธ›เธฃเธฒเธเธเนƒเธ™เธชเธกเธฑเธขเธเธฃเธธเธ‡เธจเธฃเธตเธญเธขเธธเธ˜เธขเธฒ เน„เธ”เน‰เนเธเนˆ เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธ”เน‰เธฒเธ™เธเธฒเธฃเธเนˆเธญเธชเธฃเน‰เธฒเธ‡ เน€เธŠเนˆเธ™ เธเธฒเธฃเธ•เนˆเธญเน€เธฃเธทเธญ เธเธฒเธฃเธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เธ›เน‰เธญเธกเธ›เธฃเธฒเธเธฒเธฃ เนเธฅเธฐเน€เธ„เธซเธชเธ–เธฒเธ™ เน‚เธ”เธขเนƒเธŠเน‰เธฃเธนเธ›เนเธšเธšเธชเธ–เธฒเธ›เธฑเธ•เธขเธเธฃเธฃเธกเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเนเธฅเธฐเน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธญเธทเนˆเธ™เน† เน€เธŠเนˆเธ™ เธเธฒเธฃเธซเธฅเนˆเธญเธ›เธทเธ™เนƒเธซเธเนˆ เนเธฅเธฐเธเธฒเธฃเธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เธซเธญเธ”เธนเธ”เธฒเธง

12. [PDF] อยุธยาสมัยสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ. 2231-2246 - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

  • นโยบายถ่วงดุลย์อำนาจของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่พยายามดึงประเทศฝรั่งเศสเข้ามา. เป็นพันธมิตรตามคำแนะนำของออกญาวิไชเยนทร์เมื่อครั้งที่ฮอลันดานำเรือรบปิดอ่าวไทยใน. พ.ศ. 2207 การเป็นพันธมิตรกับ ...

Top Articles
Latest Posts
Article information

Author: Jonah Leffler

Last Updated: 24/12/2023

Views: 5275

Rating: 4.4 / 5 (65 voted)

Reviews: 88% of readers found this page helpful

Author information

Name: Jonah Leffler

Birthday: 1997-10-27

Address: 8987 Kieth Ports, Luettgenland, CT 54657-9808

Phone: +2611128251586

Job: Mining Supervisor

Hobby: Worldbuilding, Electronics, Amateur radio, Skiing, Cycling, Jogging, Taxidermy

Introduction: My name is Jonah Leffler, I am a determined, faithful, outstanding, inexpensive, cheerful, determined, smiling person who loves writing and wants to share my knowledge and understanding with you.